Category: สารเคมี
สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโต 1. การผลิตกรด 5 -อะมิโนลีวูลนิก ALA จากการเลี้ยงจุลินทรีย์ ยับยั้งการเจริญเติบวัชพืช ส่งเสริมการงอกของเมล็ดการเจริญเติบโตของต้นกล้าเพิ่มผลผลิต การเจริญเติบโตราก ปรับปรุงความทนทานต่อเกลือของพืช ทนแล้ง สตรอเบอร์รี่ใบมีสีเขียวเข้มและมีความต้านทานความหนาวเย็น 2. สารเมลาโทนิน จาก E-Coli ในทางการเกษตร เพื่อทำให้มะเขือเทศทนแล้งเพิ่มขึ้น เมลาโทนิน (Melatonin, N-acetyl-5-methoxytryptamine) เป็น สารออกฤทธิ์ชีวภาพและเป็นฮอร์โมนที่มีบทบาท มากมายทั้งในพืชและสัตว์ ในคนและสัตว์นั้นเมลาโท นินเป็นฮอร์โมนในระบบประสาท ร่างกายสังเคราะห์ ขึ้นที่ต่อมไพเนียล (pineal grand) บริเวณสมอง โดย สังเคราะห์จากกรดะมิโนทริปโตแฟน เมลาโทนินในมี บทบาทสำคัญในการควบคุมกลไกการหลับและตื่น ของร่างกาย (Circadian rhythm) สามารถในการช่วย บรรเทาอาการเมาเครื่องบิน (jet lag) (Buscemi et al., 2004) ผักปลังมี ปริมาณเท่ากับ 0.04 ng/g ดอกแค เท่ากับ 26.3 ng/g และมะเขือเทศพบในช่วงระหว่าง 7.5 [...]
สารไทอะโคลพริด
ไทอะโคลพริด thaicloprid 24% W/V SC เป็นกลุ่มสารเคมี : Neonicotinoid MOA : ไปทำการเลียนแบบสารอะซิติลโคลีนและขัดขวางบริเวณจุดรับนิโคตินิกอะซิติลโคลีน การป้องกันกำจัด -เพลี้ยไฟ อัตรา 3 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร -แมลงบั่ว อัตรา 3 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร
สารฟลูไพราดิฟูโรน
ฟลูไพราดิฟูโรน flupyradifurone 20% W/V SL การป้องกันกำจัด -เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน อัตรา 15 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร -เพลี้ยจักจั่นฝ้ายในมะเขือเปราะ อัตรา 15 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร -แมลงหวี่ขาวยาสูบ อัตรา 25 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร
สูตรสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สูตรสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช สูตรสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชตามการจัดแบ่งขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดังนี้
สารเมทอกซีฟีโนไซด์
เมทอกซีฟีโนไซด์ (methoxyfenozide) สารกลุ่มที่ 18 ทำให้ตัวรับฮอร์โมนเอคไดโซนทำงาน สารฆ่าแมลงในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อระบบการเจริญเติบโต
สารฟลูเบนไดอะไมด์
สารฟลูเบนไดอะไมด์ (flubendiamide) สารกลุ่มที่ 28 เป็นตัวปรับการทำงานของตัวรับชนิดไรยาโนดีน สารฆ่ากลุ่มนี้เป็นสารที่มีกลไกการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
สารเฮกซีไทอะซอกซ์
เฮกซีไทอะซอกซ์ (hexythiazox) สารกลุ่ม 10A ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของไรโดยไปจับที่เอนไซม์ chitin synthase (CHS1)
สารสไปโรมีซิเฟน
สไปโรมีซิเฟน (spiromesifen) สารกลุ่มที่ 23 ยับยั้งเอ็นไซม์อะเซทิล โคเอ คาร์บ็อกซิเลส สารฆ่าแมลงกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อระบบการเจริญเติบโต โดยยับยั้งเอนไซม์ acetyl coenzyme A carboxylase (ACCase)
สารไพมีโทรซีน
ไพมีโทรซีน (pymetrozine) สารกลุ่ม 9B ที่ปรับการทำงานของช่อง TRPV ที่ Chordotonal organ สารฆ่าแมลงกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
สารโคลไทอะนิดิน
โคลไทอะนิดิน (clothianidin) สารกลุ่ม 4A สารนีโอนิโคตินอยด์(Neonicotinoids) ที่ปรับการทำงานของตัวรับสารอะเซติลโคลีนชนิดนิโคตินิกโดยการจับแบบแข่งขัน
สารสไปนีโทแรม
สไปนีโทแรม (spinetoram) สารอยู่ในกลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ปรับการทำงานของตัวรับสารอะเซติลโคลินชนิดนิโคตินิกโดยการจับที่ตำแหน่งแอลโลสเตอริกที่ตำแหน่งที่ 1
สารอิมิดาโคลพริด
อิมิดาโคลพริด imidacloprid สูตร 10% SL – แมลงหวี่ขาวยาสูบ (Bemisiatabaci) อัตรา 10 มล./น้ำ 20 ลิตร แมลงหวี่ขาวเป็นพาหะของโรคใบหดในยาสูบ
พิษและอันตรายของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
1. พิษของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช พิษหรือความเป็นพิษ หมายถึง ความสามารถของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชชนิดนั้น ๆ ที่จะก่อให้เกิดอันตรายหรือบาดเจ็บต่อเป้าหมาย
กลุ่มสารฆ่าแมลงและไรตามกลไกการออกฤทธิ์
กลุ่มสารฆ่าแมลงและไรตามกลไกการออกฤทธิ์ 1. สารกลุ่มยับยั้งเอนไซม์อะเซททิลโคลินเอสเทอเรส สารกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท