Category: สารเคมี

สารพาโคบิวทราโซล
พาโคบิวทราโซล (pactobutrazol) สารพาโคบิวทราโซล (pactobutrazol) เป็นสารสังเคราะห์ในกลุ่มสารชะลอการเจริญเติบโต

กรดจิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน (gibberellins) สารกลุ่มนี้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการยืดตัวของ เซลล์ (cell elongation) ช่วยขยายขนาดผล ทําลายการพักตัวของพืช กระตุ้น การงอกของเมล็ด กระตุ้นการเจริญของพืชทั้งต้นรวมทั้งผล กระตุ้นการออกดอก ของพืชบางชนิดหรือยับยั้งการออกดอกของพืชบางชนิด ปรับเปลี่ยนเพศดอกทําให้เกิดดอกเพศผู้ กระตุ้นให้เกิดผลแบบไม่มีเมล็ด (parthenocarpic) ในพืชบาง ชนิด สารกลุ่มนี้มีทั้งที่พืชสร้างขึ้นเองและเชื้อราบางชนิดสร้างขึ้น แหล่งที่มีการ สร้างจิบเบอเรลลินในพืชเช่นกิ่งที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เมล็ดและผลที่กําลัง พัฒนา บริเวณที่กําลังยืดตัว เช่น ปลายยอดและปลายราก ปัจจุบันมีสารประกอบ ประเภทนี้มากกว่า 80 ชนิด โดยตั้งชื่อ Gibberellins A1 (GA), A2, A3 เป็นต้น และพบว่า Gibberellins A3 (GA3) เป็นตัวที่นํามาใช้มากทางการเกษตร ชื่อเรียก เฉพาะของ GA3 คือ จิบเบอเรลลิคแอซิค (gibberellic acid) พืชสามารถสร้าง GA3 ได้ในปริมาณน้อยมากและส่วนของพืชที่มีการสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน คือ ใบอ่อน ผลอ่อนและต้นอ่อน [...]

สไปโรเตตระแมท
สไปโรเตตระแมท spirotetramat เป็นสารกลุ่ม Tetronic กลไกการออกฤิทธิ์กลุ่ม 23 ไปยับยั้งการสร้างเอนไซม์ acetyl CoA carboxylase ทำการสังเคราะห์ไขมันในการเจริญเติบโตของแมลง เช่น เพลี้ยต่างๆ แมลงหวี่ขาว เป็นสารดูดซึมผ่านระบบท่อน้ำและท่ออาหารของพืช

เตตระนิลิโพร์ล
เตตระนิลิโพร์ล (tetraniliprole) เป็นสารเคมีกลุ่ม diamide กลไกการออกฤิทธิ์กลุ่ม 28 ออกฤิทธิ์ที่ Ryanodine receptor modulator ไปรบกวนการเคลื่อนย้ายแคลเซียมภายในเซล ที่ทำให้กระบวนการหดตัวของกล้ามเนื้อ เป็นสาเหตุให้แมลงมีอาการซึม เป็นอัมพาต หยุดกินอาหารทันที และตาย ควบคุมกลุ่มด้วง แมลงวัน หนอนผีเสื้อ

สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโต 1. การผลิตกรด 5 -อะมิโนลีวูลนิก ALA จากการเลี้ยงจุลินทรีย์ ยับยั้งการเจริญเติบวัชพืช ส่งเสริมการงอกของเมล็ดการเจริญเติบโตของต้นกล้าเพิ่มผลผลิต การเจริญเติบโตราก ปรับปรุงความทนทานต่อเกลือของพืช ทนแล้ง สตรอเบอร์รี่ใบมีสีเขียวเข้มและมีความต้านทานความหนาวเย็น 2. สารเมลาโทนิน จาก E-Coli ในทางการเกษตร เพื่อทำให้มะเขือเทศทนแล้งเพิ่มขึ้น เมลาโทนิน (Melatonin, N-acetyl-5-methoxytryptamine) เป็น สารออกฤทธิ์ชีวภาพและเป็นฮอร์โมนที่มีบทบาท มากมายทั้งในพืชและสัตว์ ในคนและสัตว์นั้นเมลาโท นินเป็นฮอร์โมนในระบบประสาท ร่างกายสังเคราะห์ ขึ้นที่ต่อมไพเนียล (pineal grand) บริเวณสมอง โดย สังเคราะห์จากกรดะมิโนทริปโตแฟน เมลาโทนินในมี บทบาทสำคัญในการควบคุมกลไกการหลับและตื่น ของร่างกาย (Circadian rhythm) สามารถในการช่วย บรรเทาอาการเมาเครื่องบิน (jet lag) (Buscemi et al., 2004) ผักปลังมี ปริมาณเท่ากับ 0.04 ng/g ดอกแค เท่ากับ 26.3 ng/g และมะเขือเทศพบในช่วงระหว่าง 7.5 [...]

ไทอะโคลพริด
ไทอะโคลพริด thaicloprid 24% W/V SC เป็นกลุ่มสารเคมี : Neonicotinoid MOA : ไปทำการเลียนแบบสารอะซิติลโคลีนและขัดขวางบริเวณจุดรับนิโคตินิกอะซิติลโคลีน การป้องกันกำจัด -เพลี้ยไฟ อัตรา 3 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร -แมลงบั่ว อัตรา 3 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร

ฟลูไพราดิฟูโรน
ฟลูไพราดิฟูโรน flupyradifurone 20% W/V SL การป้องกันกำจัด -เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน อัตรา 15 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร -เพลี้ยจักจั่นฝ้ายในมะเขือเปราะ อัตรา 15 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร -แมลงหวี่ขาวยาสูบ อัตรา 25 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร

สูตรสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สูตรสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช สูตรสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชตามการจัดแบ่งขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดังนี้

เมทอกซีฟีโนไซด์
เมทอกซีฟีโนไซด์ (methoxyfenozide) สารกลุ่มที่ 18 ทำให้ตัวรับฮอร์โมนเอคไดโซนทำงาน สารฆ่าแมลงในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อระบบการเจริญเติบโต

ฟลูเบนไดอะไมด์
ฟลูเบนไดอะไมด์ (flubendiamide) สารกลุ่มที่ 28 เป็นตัวปรับการทำงานของตัวรับชนิดไรยาโนดีน สารฆ่ากลุ่มนี้เป็นสารที่มีกลไกการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ

เฮกซีไทอะซอกซ์
เฮกซีไทอะซอกซ์ (hexythiazox) สารกลุ่ม 10A ที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของไรโดยไปจับที่เอนไซม์ chitin synthase (CHS1)

สไปโรมีซิเฟน
สไปโรมีซิเฟน (spiromesifen) สารกลุ่มที่ 23 ยับยั้งเอ็นไซม์อะเซทิล โคเอ คาร์บ็อกซิเลส สารฆ่าแมลงกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อระบบการเจริญเติบโต โดยยับยั้งเอนไซม์ acetyl coenzyme A carboxylase (ACCase)