คะน้า
คะน้า
ชื่ออื่นๆ : -
ชื่อวงศ์ : Cruciferae
ชื่อสามัญ :Chinese kale, Borecole, Collard
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Brassica alboglabra L.H. Bailey
1.พันธุ์ :พันธุ์คะน้าที่นิยมปลูกแบ่งได้เป็น 2 พันธุ์ คือ
1.1 คะน้าใบ มีลักษณะต้นอวบใหญ่ ก้านเล็ก ใบกลมหนา กรอบ ทนทานต่อดินฟ้าอากาศได้ดี มีขายตามร้านขายเมล็ดพันธุ์
1.2 คะน้ายอดหรือคะน้าก้าน ลักษณะต้นอวบใหญ่ มีดอกสีขาว ใบแหลม ก้านใหญ่ มีรสอร่อย มีความต้านทานโรค มีขายตามร้านขายเมล็ดพันธุ์
2. การเตรียมดิน การปลูกหรือหว่านคะน้าเพื่อเป็นการค้า ควรไถดินตาก 7-10 วัน ใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยอินทรีย์ หรือปูนขาวด้วยเพื่อปรับปรุงดิน แล้วพรวนดินยกร่อง ด้วยรถแทรคเตอร์
3. วิธีการปลูก เกษตรกรที่ปลูกเป็นการค้า จะนิยมหว่านเมล็ดคะน้าอัตรา 2 กิโลกรัมต่อไร่ ถ้าทำเป็นจำนวนไร่มากๆ จะใช้เครื่องหว่านเมล็ดพันธุ์ สะดวกและรวดเร็ว และสม่ำเสมอ แล้วคลุมด้วยฟาง รดน้ำให้ชุ่ม จนอายุประมาณ 20-25 วัน ก็ถอนแยก ถ้าขึ้นถี่เกินไป ควรถอนแยกห่างกันประมาณ 10-15 เซนติเมตร หรือมีใบจริงประมาณ 2 คู่
4. การให้น้ำ ควรให้น้ำคะน้าระยะแรกก่อนงอก เช้า-เย็น เมื่องอกแล้วพิจารณารดน้ำทุกวัน หรือหากมีความชื้นมากก็ควรรดวันเว้นวัน และควรให้น้ำสม่ำเสมอ ระยะฟื้นก่อนตัดประมาณ 1 อาทิตย์ เพื่อให้ได้น้ำหนัก
5. การใส่ปุ๋ย พื้นที่ที่ปลูกคะน้า หากเป็นพื้นที่ใหม่ ไม่ควรใส่ปุ๋ยสูตร 64-0-0 เพราะหากคะน้างามมากจะให้เกิดโรคง่าย ควรใส่ปุ๋ยสูตร 12-8-8 โดยหว่านมาก ๆ และระยะหลัง หรืออายุประมาณ 30 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ก.ก/ไร่
6. การเก็บเกี่ยว เกษตรกรที่ปลูกเป็นการค้า จะนิยมเก็บเกี่ยวเมื่อายุ 50-55 วัน โดยตัดให้ชิดโคน หักใบแก่ทิ้ง บรรจุถุงพลาสติกเจาะรู ถุงละ 5 ก.ก หรือใส่เข่ง เพื่อสะดวกในการขนส่ง พ่อค้าจะมารับซื้อถึงสวน หรือเป็นการเหมาเป็นไร่ ตามราคาท้องตลาด
7. โรคและแมลง ที่สำคัญโรคราน้ำค้าง ใบไหม้ หนอนใยผัก หนอนเจาะยอด หนอนกระทู้ผัก ควรใช้สารเคมี อะเชทตามิพริด โปรฟิโนฟอส แลมต้าไซฮาโลทริน บาซิลลัส ทูริงเวนซิส อะมาเม็คติน หรือสปิโนแสค ตามการระบาดของแมลงศัตรู
ศัตรูพืช | สารฆ่าแมลง | %สารออกฤทธิ์ | อัตราการใช้ | วิธีการใช้ | หมายเหตุ | ||
ชื่อสามัญ | LD50 | ชื่อการค้า | และสูตรที่ใช้ | ||||
หนอนใยผัก | บาซิลลัส ทูริงเยนซีส | - | เซนทารี | WDG | 40-80 กรัม/ | พ่นทุก 4-7 วัน เมื่อพบการระบาด | ในช่วงที่มีการระบาดหนอนใยผัก |
(Plutella xylostella) | (Bacillus thuringiensis) | (Xentari) | น้ำ20 ลิตร | รุนแรงให้ใช้ในอัตราสูง และช่วง | |||
หนอนคืบกะหล่ำ | ฟลอร์แบค ดับบลิวดีจี | WDG | 40-80 กรัม/ | เวลาพ่นถี่ปลอดภัยต่อคนสัตว์และ | |||
(Trichoplusia ni) | (Florbac WDG) | น้ำ20 ลิตร | แมลงศัตรูธรรมชาติพ่นสลับ | ||||
ฟลอร์แบค เอฟซี | FC | 60-100มล/ | สารฆ่าแมลงเพื่อชะลอการต้านทาน | ||||
(Florbac FC) | น้ำ20 ลิตร | และลดการใช้สารฆ่าแมลงงดพ่น | |||||
เดลฟิน | WP | 40-80 กรัม/ | ก่อนเก็บเกี่ยว 1 วัน | ||||
(Delfin) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
แบคโทสปิน เอ็ชพี | HP | 40-80 กรัม/ | |||||
(Bactospeine HP) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
ธูริไซด์ เอ็ชพี | HP | 60-100 กรัม/ | |||||
(Thuricide HP) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
ไดเพล ดับบลิวพี | WP | 60-100 กรัม/ | |||||
(Dipel WP) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
ไดเพล อีเอส | ES | 60-100 มล./ | |||||
(Dipel ES) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
คว๊าก | FC | 80-150 มล./ | |||||
(Quark) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
ไดเพล ดีเอฟ | DF | 40-80 กรัม/ | |||||
(Dipel DF) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
โคสตาร์ โอเอฟ | OF | 40-80 กรัม/ | |||||
(Costar OF) | น้ำ20 ลิตร | ||||||
คลอร์ฟีนาเพอร์ | 441 | แรมเพจ | 10% SC | 20-40 มล./ | ในแหล่งปลูกผักภาคกลางอัตราสูง | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | |
(chlorfenapyr) | (Ramoage) | น้ำ20 ลิตร | และเวลาพ่นถี่ขึ้นเมื่อมีการระบาด | ||||
รุนแรง | |||||||
หนอนใยผัก | สปินโนแซด | 3,738 | ซัคเซส 120 เอสซี | 12 % SC | 20 มล./ | ควรใช้สารกลุ่มนี้ 2-3 ครั้งต่อฤดู | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 5 วัน |
(Plutella xylostella) | (spinosad) | (Success 120 SC) | น้ำ 20 ลิตร | เพื่อหลีกเลี่ยงการสร้างความต้าน | |||
หนอนคืบกะหล่ำ | อินด๊อกซาคาร์บ | 3,619 | แอมเมท | 15 % SC | 15 มล./ | ทานใช้สลับกับการใช้เชื้อแบคทีเรีย | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน |
(Trichoplusia ni) | (indoxacarb) | (Ammate) | น้ำ 20 ลิตร | เมื่อการระบาดลดลงไม่ควรใช้ | |||
ฟิโปรนิล | 92 | แอสเซ็นด์ | 5 % SC | 20-40 มล./ | ในแหล่งปลูกผักภาคกลาง | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | |
(fipronil) | (Ascend) | น้ำ 20 ลิตร | ใช้ในแหล่งปลูกผักทั่วๆไป ยกเว้น | ||||
โพรไทโอฟอส* | 925 | โตกุไธออน | 50 % EC | 30-40 มล./ | ในแหล่งปลูกผักภาคกลางและภาค | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | |
(prothiofos *) | (Tokuthaion) | น้ำ 20 ลิตร | ตะวันตกใช้อัตราสูงและช่วงเวลา | ||||
โพรฟีโนฟอส* | 358 | ซุเปอร์ครอน 500 อีซี | 50 % EC | 30-40 มล./ | พ่นถี่ เมื่อพบการระบาดรุนแรง ควร | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | |
(profenofos *) | (Supercron 500 EC) | น้ำ 20 ลิตร | พ่น 1-2 ครั้งสลับกับการใช้เชื้อ | ||||
เดลทาเมทริน | 135 | เดซิส 3 | 3 % EC | 10-20 มล./ | แบคทีเรีย | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | |
(deltamethrin) | (Decis 3) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
แลมบ์ดาไซฮาโลทริน | 56 | คาราเต้ 2.5 อีซี | 2.5 % EC | 20-30 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 8 วัน | ||
(lambdacyhalothrin) | (Karate 2.5% EC) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
เทฟลูเบนซูรอน | 5,000 | แซดคิลเลอร์ | 5 % EC | 20-30 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | ||
(teflubenzuron) | (Z-killer) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
คลอร์ฟลูอาซูรอน | 8,500 | อาทาบรอน | 5 % EC | 20-30 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | ||
(chlorfluazuron) | (Atabron) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
ฟลูเฟนนอกซูรอน | 3,000 | แคสเคด | 5 % EC | 20-30 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | ||
(flufenoxuron) | (Cascade) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
ฟลูเบนไดอะไมด์ | 2,000 | ทาคูมิ | 20 % WDG | 6-8 กรัม./ | |||
(flubendiamide) | (Takumi) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
โทลเฟนไพแร็ด | 386 | ฮาชิฮาชิ | 16 % EC | 30-40 มล./ | |||
(tolfenpyrad) | (Hachi-Hachi) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
หนอนกระทู้หอม | บาซิลลัส ทูริงเยนซิส | - | เซนทารี | WDG | 60-80 กรัม./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 1 วัน | |
(Spodoptera exigua) | (Bacillus thuringiensis) | (Xentari) | น้ำ 20 ลิตร | ||||
ฟลอร์แบค ดับบลิวดีจี | WDG | 60-80 กรัม./ | |||||
(Florbac WDG) | น้ำ 20 ลิตร | ||||||
หนอนกระทู้หอม | บาซิลลัส ทูริงเยนซิส | เดลฟิน | WP | 60-80 กรัม./ | พ่นทุก 4 วัน เมื่อพบการระบาดใช้ใน | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 1 วัน | |
(Spodoptera exigua) | (Bacillus thuringiensis) | (Delfin) | น้ำ 20 ลิตร | ระยะที่หนอนระบาดน้อยและมีขนาด | |||
แบคโทสปิน เอ็ชพี | HP | 60-80 กรัม./ | เล็ก ถ้าหากมีการระบาดมากขึ้นให้พ่น | ||||
(Bactospeine HP) | น้ำ 20 ลิตร | สลับกับสารฆ่าแมลง | |||||
ไดเพล ดีเอฟ | DF | 60-80 กรัม./ | |||||
(Dipel DF) | น้ำ 20 ลิตร | ||||||
ไดฟลูเบนซูรอน | 4,640 | ดิมิลิน | 25 % WP | 30-40 กรัม./ | พ่นทุก 4-7 วัน เมื่อพบการระบาด | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | |
(diflubenzuron) | (Dimilin) | น้ำ 20 ลิตร | ควรใช้เมื่อพบหนอนมีขนาดเล็ก ถ้า | ||||
ไตรฟลูมูรอน | 5,000 | อัลซีสติน | 25 % WP | 30-40 กรัม./ | มีการระบาดมากขึ้นให้ใช้ในอัตราสูง | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | |
(triflumuron) | (Alsystin) | น้ำ 20 ลิตร | และเวลาพ่นถี่ขึ้น ไม่ควรใช้สารชนิดใด | ||||
คลอร์ฟลูอาซูรอน | 8,500 | อาทาบรอน | 5 % EC | 20-40 มล./ | ชนิดหนึ่งติดต่อกันหลายครั้ง | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | |
(chlorfluazuron) | (Atabron) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
เทบูฟีโนไซด์ | 5,000 | มิมิค 20 เอฟ | 20 % F | 30-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | ||
(tebufenozide) | (Mimic 20 F) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
คลอร์ฟีนาเพอร์ | 441 | แรมเพจ | 10% SC | 20-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | ||
(chlorfenapyr) | (Ramoage) | น้ำ20 ลิตร | |||||
นิวเคลียร์โพลีฮีโดรซิสไวรัส | - | NPV | - | 20-30 มล./ | พ่นทุก 5-7 วัน ถ้าพบการระบาดรุนแรง | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 1 วัน | |
(nuclearpolyhedrosis virus) | น้ำ20 ลิตร | พ่นติดต่อกัน 2 ครั้งห่างกัน 3 วัน | |||||
หนอนเจาะยอดกะหล่ำ | โพรฟีโนฟอส* | 358 | ซุเปอร์ครอน 500 อีซี | 50 % EC | 30-40 มล./ | พ่นทุก 4-7 วันเมื่อพบการระบาดและ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน |
( Hellula undalis) | (prothiofos *) | (Supercron 500 EC) | น้ำ 20 ลิตร | พ่นติดต่อกัน 2-3 ครั้ง | |||
โพรไทโอฟอส* | 925 | โตกุไธออน | 50 % EC | 30-40 มล./ | |||
(prothiofos *) | (Tokuthaion) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
แลมบ์ดาไซฮาโลทริน | 56 | คาราเต้ 2.5 อีซี | 2.5 % EC | 20-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 8 วัน | ||
(lambdacyhalothrin) | (Karate 2.5% EC) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
ด้วงหมัดผักแถบลาย | คาร์บาริล* | 300 | เชฟวิน 85 ดับบลิวพี | 85 % WP | 40-60 กรัม./ | พ่นทุก 3-5 วันเมื่อพบการระบาด | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน |
(Phyllotreta flexuosa) | (carbaryl *) | น้ำ 20 ลิตร | ใช้เฉพาะแหล่งที่ด้วงหมัดผักยังไม่สร้าง | ||||
(= P. sinuata) | ต้านทานต่อสารฆ่าแมลง | ||||||
หมายเหตุ : | ห้ามใช้สำหรับพืชผักส่งออกสหภาพยุโรป | ||||||
ด้วงหมัดผักแถบลาย | คาร์โบซัลแฟน | 250 | พอสซ์ | 20 % EC | 50-75 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 15 วัน | |
(Phyllotreta flexuosa) | (carbosulfan) | (Posse) | น้ำ 20 ลิตร | ||||
(= P. sinuata) | โพรฟีโนฟอส* | 358 | ซุเปอร์ครอน 500 อีซี | 50 % EC | 30-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | |
(prothiofos *) | (Supercron 500 EC) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
โพรไทโอฟอส* | 925 | โตกุไธออน | 50 % EC | 30-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | ||
(prothiofos *) | (Tokuthaion) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
ฟิโปรนิล | 92 | แอสเซ็นด์ | 5 % SC | 20-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | ||
(fipronil) | (Ascend) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
ไส้เดือนฝอย | - | ยูเนมา | ใช้ 4 ล้านตัว/น้ำ 20 ลิตร ใช้ 2-3 ลิตร/ต้น | ใช้เฉพาะผักกาดหัว | |||
(Steinernema carpocapsae) | (1ไร่=30ต้น,60-150ลิตร/ไร่)พ่น 2 ครั้ง | ||||||
ห่างกัน 15 วัน | |||||||
หนอนใยผัก | ดูหนอนใยผักและหนอนคืบกะหล่ำ | ||||||
(Spodoptera litura) | |||||||
หนอนแมลงวันชอนใบ | อิมิดาโคลพริด | 450 | คอนฟิดอร์ 100 เอสแอล | 10 % SL | 20-30 มล./ | พ่นเมื่อพบการระบาด ควรพ่นติดต่อกัน | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน |
กะหล่ำ | (imidacloprid) | (Confidor 100 SL) | น้ำ 20 ลิตร | 2-3 ครั้ง เมื่อพบการระบาดรุนแรง และ | |||
(Liriomyza brassicae) | ฟิโปรนิล | 92 | แอสเซ็นด์ | 5 % SC | 20-40 มล./ | ไม่ควรใช้สารชนิดใดชนิดหนึ่งติดต่อกัน | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน |
(fipronil) | (Ascend) | น้ำ 20 ลิตร | นานๆ | ||||
ไซเพอร์เมทริน | 250 | ไซนอฟฟ์ | 40 % WP | 15-20 กรัม/ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 7 วัน | ||
(cypermethrin) | (Cynoff) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
โพรไทโอฟอส* | 925 | โตกุไธออน | 50 % EC | 30-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | ||
(prothiofos *) | (Tokuthaion) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
โพรฟีโนฟอส* | 358 | ซุเปอร์ครอน 500 อีซี | 50 % EC | 30-40 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน | ||
(prothiofos *) | (Supercron 500 EC) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
คาร์โบซัลแฟน | 250 | พอสซ์ | 20 % EC | 50-75 มล./ | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 15 วัน | ||
(carbosulfan) | (Posse) | น้ำ 20 ลิตร | |||||
เพลี้ยอ่อนกะหล่ำ | โพรไทโอฟอส* | 925 | โตกุไธออน | 50 % EC | 30-40 มล./ | พ่นเมื่อพบการระบาด | งดพ่นก่อนก็บเกี่ยว 14 วัน |
(Lipaphis erysimi) | (prothiofos *) | (Tokuthaion) | น้ำ 20 ลิตร | ||||
โพรฟีโนฟอส* | 358 | ซุเปอร์ครอน 500 อีซี | 50 % EC | 30-40 มล./ | |||
(prothiofos *) | (Supercron 500 EC) | น้ำ 20 ลิตร |
ค่าใช้จ่ายในการลงทุนปลูกคะน้าต่อ 1 ไร่
ผลผลิตเฉลี่ย | ต้นทุน | รายได้ | กำไรสุทธิ |
5,920 กิโลกรัมต่อไร่ | 9,080.10 บาทต่อไร่ | 27,885.70 บาทต่อไร่ | 18,805.60 บาทต่อไร่ |
Category: พืชผัก, พืชผัก ด-น